Skip เข้าสู่ระบบ
เข้าสู่ระบบ
Skip ประเภทของรายวิชา
ประเภทของรายวิชา
Skip ข่าวล่าสุด
ข่าวล่าสุด
Skip สมาชิกออนไลน์
สมาชิกออนไลน์(ในช่วง 5 นาทีที่ผ่านมา) ไม่มี | ประเภทของรายวิชา
รายวิชาที่มีอยู่คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศึกษาพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ ปัญญาประดิษฐ์ (AI)การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1/67 (ครูวีระยุทธ บุญรักษา) ศึกษา การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตลอดจนใช้ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ดิจิทัลในการทำงาน เพื่อใช้สำหรับการสร้าง ออกแบบชิ้นงาน หลักการสร้างภาพยนตร์ เทคนิควิธีการสร้างภาพยนตร์ หลักการถ่ายภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพด้วยขนาดต่างๆ มุมกล้อง เพื่อสื่อความหมาย หลักการใช้แสง เงาในการประกอบภาพ การเขียนสคลิปและสตอรี่บอร์ด การใช้โปรแกรมตัดต่อภาพยนตร์ ในการตัดต่อ ภาพ เสียง การส่งออกแฟ้มในรูปแบบไฟล์ต่างๆ นำเสนอชิ้นงาน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ ข้อดีและข้อจำกัดของภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ละประเภท การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทำเอกสารประกอบ โดยใช้การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ หลักการ แก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา การจำลองความคิด โครงสร้างภาษา การเขียนแผนภาพแสดงขั้นตอนการทำงาน ของโปรแกรม กฎเกณฑ์ไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรม ให้ตัวควบคุม ข้อมูล ตัวแปรและ ค่าคงที่ การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข และการทำงานแบบวนรอบ (Loop) ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การ เขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทำเอกสารประกอบ มีทักษะและความเข้าใจด้านการเขียน โปรแกรม เพื่อให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของการเขียนโปรแกรม เข้าใจวิธีการเขียนโปรแกรม และมีเจตคติที่ดี ในการใช้คอมพิวเตอร์ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการท างานและการประกอบอาชีพอย่างถูกต้องตาม กระบวนการอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม dddddddddddddddddddddddd คำอธิบายรายวิชา รายวิชา เพิ่มเติม รหัสวิชา ง30212 รายวิชา คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลา 40 ชั่วโมง/ภาค จำนวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษา ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานมัลติมีเดีย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตลอดจนใช้ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ดิจิทัลในการทำงาน เพื่อใช้สำหรับการสร้าง ออกแบบชิ้นงาน นำเสนอชิ้นงาน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สืบค้นข้อมูล บันทึกข้อมูล จัดกลุ่มข้อมูล การทำงานเป็นทีม อธิบายองค์ประกอบของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดีย การออกแบบงานมัลติมีเดีย การสร้างสื่อมัลติมีเดีย ด้วยโปรแกรมนำเสนอ และการนำเสนอผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดจิตสำนึกและคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสรรค์ผลงาน มีความรับผิดชอบ ขยัน อดทนซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา สามารถเชื่อมโยงความรู้สู่อาเซียนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตได้ วิทยาการคำนวณ ม.1 คำอธิบายรายวิชา วิทยาการคำนวณ 3 รหัสวิชา ว33102 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลา 40 ชั่วโมง/ปี ศึกษาเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย การนำเสนอและแบ่งปันข้อมูลสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอ การนำเสนอและแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน และผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่าง ๆ โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบอภิปราย วิธีการสอนแบบกระบวนการทำงานกลุ่ม และวิธีการสอนแบบบรรยาย เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ ละนำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์ โจทย์ปัญหา จนสามารถนำเสนอแนวคิกเชิงคำนวณมาประยุกต์ใช้ในโครงงานได้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่อสารเบื้องต้นในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และนำเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.6/1 รวม 1 ตัวชี้วัด วิทยาการคำนวณ ม.1 hhhhhhhhhhhhhhhhhh ศึกษา การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตลอดจนใช้ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ดิจิทัลในการทำงาน เพื่อใช้สำหรับการสร้าง ออกแบบชิ้นงาน หลักการสร้างภาพยนตร์ เทคนิควิธีการสร้างภาพยนตร์ หลักการถ่ายภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพด้วยขนาดต่างๆ มุมกล้อง เพื่อสื่อความหมาย หลักการใช้แสง เงาในการประกอบภาพ การเขียนสคลิปและสตอรี่บอร์ด การใช้โปรแกรมตัดต่อภาพยนตร์ ในการตัดต่อ ภาพ เสียง การส่งออกแฟ้มในรูปแบบไฟล์ต่างๆ นำเสนอชิ้นงาน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ ข้อดีและข้อจำกัดของภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ละประเภท การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทำเอกสารประกอบ โดยใช้การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ หลักการ แก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา การจำลองความคิด โครงสร้างภาษา การเขียนแผนภาพแสดงขั้นตอนการทำงาน ของโปรแกรม กฎเกณฑ์ไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรม ให้ตัวควบคุม ข้อมูล ตัวแปรและ ค่าคงที่ การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข และการทำงานแบบวนรอบ (Loop) ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การ เขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทำเอกสารประกอบ มีทักษะและความเข้าใจด้านการเขียน โปรแกรม เพื่อให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของการเขียนโปรแกรม เข้าใจวิธีการเขียนโปรแกรม และมีเจตคติที่ดี ในการใช้คอมพิวเตอร์ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการท างานและการประกอบอาชีพอย่างถูกต้องตาม กระบวนการอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5เวลา 40 ชั่วโมง ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของนวัตกรรม ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรม รูปแบบของเทคโนโลยี การพัฒนาอย่างยั่งยืน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระบบทางเทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยี องค์ประกอบที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางเทคโนโลยี การออกแบบเชิงวิศวกรรม สะเต็มศึกษา โครงงานสะเต็ม การทำโครงงาน การประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรในการสร้างหรือพัฒนาชิ้นงาน เพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน การทำโครงงานออกแบบและเทคโนโลยี ผลงานโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) และการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project–based Learning) เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ และ นำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา นำไปสู่การสร้างต้นแบบ ตลอดจนสามารถนำกระบวนการเทคโนโลยี สร้างเทคโนโลยีวิธีการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำรงชีวิต รวมทั้งคำนึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ อีกทั้งยังเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ คำอธิบายรายวิชา วิทยาการคำนวณ 3 รหัสวิชา ว33102 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เวลา 40 ชั่วโมง/ปี ศึกษาเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย การนำเสนอและแบ่งปันข้อมูลสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอ การนำเสนอและแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน และผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่าง ๆ โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบอภิปราย วิธีการสอนแบบกระบวนการทำงานกลุ่ม และวิธีการสอนแบบบรรยาย เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ ละนำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์ โจทย์ปัญหา จนสามารถนำเสนอแนวคิกเชิงคำนวณมาประยุกต์ใช้ในโครงงานได้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่อสารเบื้องต้นในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และนำเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.6/1 รวม 1 ตัวชี้วัด ศึกษา การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตลอดจนใช้ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ดิจิทัลในการทำงาน เพื่อใช้สำหรับการสร้าง ออกแบบชิ้นงาน หลักการสร้างภาพยนตร์ เทคนิควิธีการสร้างภาพยนตร์ หลักการถ่ายภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพด้วยขนาดต่างๆ มุมกล้อง เพื่อสื่อความหมาย หลักการใช้แสง เงาในการประกอบภาพ การเขียนสคลิปและสตอรี่บอร์ด การใช้โปรแกรมตัดต่อภาพยนตร์ ในการตัดต่อ ภาพ เสียง การส่งออกแฟ้มในรูปแบบไฟล์ต่างๆ นำเสนอชิ้นงาน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ ข้อดีและข้อจำกัดของภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ละประเภท การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทำเอกสารประกอบ โดยใช้การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ หลักการ แก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา การจำลองความคิด โครงสร้างภาษา การเขียนแผนภาพแสดงขั้นตอนการทำงาน ของโปรแกรม กฎเกณฑ์ไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรม ให้ตัวควบคุม ข้อมูล ตัวแปรและ ค่าคงที่ การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข และการทำงานแบบวนรอบ (Loop) ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การ เขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทำเอกสารประกอบ มีทักษะและความเข้าใจด้านการเขียน โปรแกรม เพื่อให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของการเขียนโปรแกรม เข้าใจวิธีการเขียนโปรแกรม และมีเจตคติที่ดี ในการใช้คอมพิวเตอร์ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการท างานและการประกอบอาชีพอย่างถูกต้องตาม กระบวนการอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ศึกษา การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตลอดจนใช้ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ดิจิทัลในการทำงาน เพื่อใช้สำหรับการสร้าง ออกแบบชิ้นงาน หลักการสร้างภาพยนตร์ เทคนิควิธีการสร้างภาพยนตร์ หลักการถ่ายภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพด้วยขนาดต่างๆ มุมกล้อง เพื่อสื่อความหมาย หลักการใช้แสง เงาในการประกอบภาพ การเขียนสคลิปและสตอรี่บอร์ด การใช้โปรแกรมตัดต่อภาพยนตร์ ในการตัดต่อ ภาพ เสียง การส่งออกแฟ้มในรูปแบบไฟล์ต่างๆ นำเสนอชิ้นงาน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ ข้อดีและข้อจำกัดของภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ละประเภท การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทำเอกสารประกอบ โดยใช้การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ หลักการ แก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา การจำลองความคิด โครงสร้างภาษา การเขียนแผนภาพแสดงขั้นตอนการทำงาน ของโปรแกรม กฎเกณฑ์ไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรม ให้ตัวควบคุม ข้อมูล ตัวแปรและ ค่าคงที่ การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข และการทำงานแบบวนรอบ (Loop) ปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมตามขั้นตอน 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การ เขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทำเอกสารประกอบ มีทักษะและความเข้าใจด้านการเขียน โปรแกรม เพื่อให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของการเขียนโปรแกรม เข้าใจวิธีการเขียนโปรแกรม และมีเจตคติที่ดี ในการใช้คอมพิวเตอร์ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการท างานและการประกอบอาชีพอย่างถูกต้องตาม กระบวนการอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
![]() ศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือความต้องการที่คำนึงถึงผู้ใช้ด้วยการคิดเชิงออกแบบ และความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อทำความเข้าใจปัญหาอย่างลึกซึ้ง และรอบด้าน เพื่อพัฒนาวิธีการแก้ปัญหาที่ตรงความต้องการ พัฒนาโครงงานเพื่อแก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่ตนเองสนใจโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ศึกษาการพัฒนาผลงาน การสร้างประโยชน์จากผลงาน และการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหรือสร้างประโยชน์จากผลงานของตนเอง และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานของตนเองให้เป็นที่รู้จักและก่อให้เกิดประโยชน์
|
|
คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา เพิ่มเติม รหัสวิชา ว30212 วิชา คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เวลา 40 ชั่วโมง/ภาค จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษา ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานมัลติมีเดีย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ตลอดจนใช้ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ดิจิทัลในการทำงาน เพื่อใช้สำหรับการสร้าง
ออกแบบชิ้นงาน นำเสนอชิ้นงาน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สืบค้นข้อมูล บันทึกข้อมูล จัดกลุ่มข้อมูล
การทำงานเป็นทีม อธิบายองค์ประกอบของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดีย การออกแบบ
งานมัลติมีเดีย การสร้างสื่อมัลติมีเดีย ด้วยโปรแกรมนำเสนอ และการนำเสนอผ่าน
เทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆอย่างเป็นระบบ
เพื่อให้เกิดจิตสำนึกและคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสรรค์
ผลงาน มีความรับผิดชอบ ขยัน อดทนซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา สามารถเชื่อมโยง
ความรู้สู่อาเซียนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ เป็นแนวทางในการประกอบ
อาชีพในอนาคตได้
การให้ผู้เรียนได้ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง “Independent Study : IS” นับเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในการพัฒนาผู้เรียน เพราะเป็นการเปิดโลกกว้างให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระในเรื่องหรือประเด็นที่ตนสนใจ เริ่มตั้งแต่การกำหนดประเด็นปัญหา ซึ่งอาจเป็น Public Issue และGlobal Issue และดำเนินการค้นคว้าแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อนำไปสู่การสรุปองค์ความรู้ จากนั้นก็หาวิธีการที่เหมาะสมในการสื่อสารนำเสนอให้ผู้อื่นได้รับทราบ และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าไปทาประโยชน์แก่สาธารณะ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกันตลอดแนว ภายใต้ “การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS)” ซึ่งจัดแบ่งเป็นสาระการเรียนรู้ 3 สาระ ประกอบด้วย IS 1- การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียนกำหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ IS 2- การสื่อสารและการนาเสนอ (Communication and Presentation) เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับ มาพัฒนาวิธีการการถ่ายทอด/สื่อสารความหมาย/แนวคิด ข้อมูลและองค์ความรู้ ด้วยวิธีการนำเสนอที่เหมาะสม หลากหลายรูปแบบ และมีประสิทธิภาพ IS 3- การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียน นำ/ประยุกต์องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ หรือนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริการสาธารณะ (Public Service)
ปฏิทิน
อา. | จ. | อ. | พ. | พฤ. | ศ. | ส. |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 3 | ||||
4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 |
11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 |
18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 |
25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 |